|
 |
|
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อกรุ อำเภอเดิมบาง
นางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับการยกฐานะจากสภา
ตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลมีฐานะเป็นนิติบุคคล
และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติ
สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม
๒๕๓๙ |
|
|
 |
|
 |
|
ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม และที่ตอน
ล่างบางส่วน ในส่วนเขตที่ราบลุ่มมีระบบน้ำชลประทาน
และโครงการกระเสียวผ่านในส่วนของพื้นที่ราบลุ่มเหมาะ
แก่การทำนาและทำไร่นาส่วนผสมในส่วนของที่ดอน
เหมาะแก่การทำไร่อ้อยและส่วนผลไม้พื้นที่ติดต่อระหว่าง
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อกรุ |
|
|
 |
|
 |
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่ ประกอบ อาชีพ |
|
 |
เกษตรกรรม |
คิดเป็นร้อยละ ๙๑ |
|
 |
อาชีพรับจ้าง |
คิดเป็นร้อยละ ๗ |
|
 |
อื่นๆ |
คิดเป็นร้อยละ ๓ |
|
|
 |
|
|
|
|
   |
|
|
|
เดิมตำบลบ่อกรุ มีบ่อน้ำบาดาลแห่งหนึ่งที่มีน้ำอุดมสมบูรณ์มากสามารถใช้ได้ทั้งตำบล และชาวบ้านใกล้เคียง เพื่อนำไปอุปโภคบริโภคในครัวเรือน เนื่องจากมีการใช้น้ำจำนวนมากเกรงว่าจะเกิดความเสียหายกับบ่อน้ำ ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันทำขอบบ่อ โดยการเอาไม้มาล้อมหรือตุไว้
เหมือนคอกหมูเพื่อป้องกันสัตว์เข้าไปในบริเวณบ่อน้ำนั้นแล้วจะทำให้น้ำในบ่อสกปรก จากเดิมที่เคยเรียกกันว่า “บ่อตุ” ก็เพี้ยนมาเป็น “บ่อกรุ”
ในปัจจุบัน และบ่อน้ำแห่งนี้ยังคงอยู่ให้ประชาชนใช้ประโยชน์มาตราบจนทุกวันนี้ |
|
|
|
|
ประชากรทั้งสิ้น ๔๘๘ ครัวเรือน จำนวน ๒,๒๑๓ คน
ประกอบด้วย |
|

 |
ชาย ๑,๐๘๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๘.๙๔ |
|

 |
หญิง ๑,๑๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๐๖ |
มีความหนาแน่นเฉลี่ย ๔๑.๘๗ คน / ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
|
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.เนินขาม อ.หันคา จ.ชัยนาท |
|
|
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.หนองโพธิ์ อ.หนองหญ้าไซ
จ.สุพรรณบุรี |
|
|
|
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.หัวนา อ.เดิมบางนางบวช
จ.สุพรรณบุรี |
|
|
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.หนองกระทุ่ม อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี |
|
|
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อกรุ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งอยู่หมู่ที่ ๖ ตำบลบ่อกรุ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
อยู่ห่างจากอำเภอเดิมบางนางบวช
ทางทิศตะวันตก ประมาณ ๒๑ กิโลเมตร สามารถเดินทางติดต่อได้โดย ถนนท่าช้าง –ด่านช้าง มีเนื้อที่
รวม ๕๒.๘๖ ตารางกิโลเมตร (๑๗,๒๑๗ ไร่) |
|
|
 |
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อกรุ ได้แบ่งการปกครองออกเป็น ๕ หมู่บ้าน ได้แก่ |
|
|
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
ประวัติหมู่บ้าน |
|
จำนวนครัวเรือน |
|
|
๒ |
บ้านดอนเก้า |
 |
๒๒๐ |
๒๒๖ |
๔๔๖ |
๑๐๐ |
|
|
๓ |
บ้านหนองฉนวน |
 |
๒๖๔ |
๒๙๘ |
๕๖๒ |
๑๒๔ |
|
|
๔ |
บ้านลาด |
 |
๓๑๕ |
๓๒๑ |
๖๓๖ |
๑๓๓ |
|
|
๕ |
บ้านหนองลาด |
 |
๙๙ |
๙๘ |
๑๙๗ |
๔๘ |
|
|
๖ |
บ้านหนองป่าแซง |
 |
๑๘๕ |
๑๘๗ |
๓๗๒ |
๘๓ |
|
|
|
รวม |
|
๑,๐๘๓ |
๑,๑๓๐ |
๒,๒๑๓ |
๔๘๘ |
|
|
|
|